POST ELEMENT STYLE MASONRY
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
หากเรามีปากกาสักด้ามที่เรารัก เป็นปากกาคู่ใจ เราคงอยากให้ปากกาด้ามนั้นอยู่กับเราไปนาน ๆ
วันนี้ทางร้าน Buzkey มีทริคเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการรักษาดูแลปากกาด้ามโปรดของคุณให้ปากกาสามารถใช้งานได้ยาวนานยิ่งขึ้น เพราะปากกาคือเครื่องมือสำคัญในการช่วยคุณทำงาน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างข้อความ สร้างผลงงานศิลปะ หรืองานอื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้นแล้ว ปากกาที่ดีควรจะมีเส้นที่คมชัด เขียนลื่น และตอบสนองความต้องการ เพื่อให้งานออกมาชัดเจน ตรงตามความเข้าใจของเรา เราจึงนำ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน มาให้คุณ คนที่รักปากกาได้อ่าน
1. ไม่ควรให้ปากากตก , กระแทกกับพื้น หรือขว้างปา
2. อย่าให้ปากกาโดนความร้อน
ห้าม!!! นำปากกาไปสัมผัสกับความร้อน ปากกากับความร้อนนั้นเป็นของที่ไม่ถูกกันเป็นอย่างมาก ความร้อนนั้นจะทำให้ปากกาของเราเสียหายหนัก เนื่องจากความร้อนจะทำให้ตัวไส้หมึกของปากกานั้นละลาย น้ำหมึกไม่จับตัวเรียงตัวกันอย่างที่ควรจะเป็น ซึ่งมันจำทำให้การลำเลียงน้ำหมึก ไม่สามารถควบคุมได้ และจะทำให้การเขียนไม่ราบลื่น
เมื่อเห็นความอันตรายของความร้อนที่่จะทำให้ปากกาด้ามโปรดของคุณเกิดความเสียหายแล้ว ดังนั้น ควรนำปากกาออกห่างจากความร้อน เก็บปากกาไว้ในกล่องปากกา และปิดฝาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
3. ปิดฝาปากกาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
ตัวเก็บปลายปากกา ที่ไม่ว่าจะเป็นแบบปลอก หรือแบบปุ่มกดขึ้นลง ออกแบบมาเพื่อป้องกันไม่ให้ปลายปากกาโดนกระแทก ซึ่งหากโดนกระแทกจะทำให้ปลายปากกาชำรุดได้ ดังนั้นหลังใช้งานเสร็จ จึงไม่ควรลืมปิดปลายปากกา และควรปิดให้สนิท
- เพราะฉนั้นแล้ว เวลาเลือกปากกา จึงควรคำนึกถึงปลอกปากกา หรือปุ่มปากกาด้วย ว่ามีความคงทนแข็งแรงดีหรือไหม ปิดสนิทหรือเปล่า…
4. ไม่ควรนำปากใส่กระเป๋ากางเกง
5. ใช้งานปากกาอย่างทะนุถนอม
สำหรับบทความ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน นี้ข้อมูลที่ทางเราคิดว่าหลาย ๆ คนอาจรู้แล้ว และอีกหลาย ๆ คนเช่นกัน ที่อาจจะยังไม่ทราบ เราจึงคิดว่าควรหยิบยกประเด็ดนี้ขึ้นมาบอกอีกครั้ง
อย่างไรแล้ว… ปากกามีบทบาทกับเราเป็นอย่างมาก อย่าละเลย และเห็นความสำคัญของปากกา ควรดูแลรักษาอย่างถูกวิธีเพื่อให้ปากกาด้ามนั้น อยู่กับเราไปอีกนาน
ขอบคุณครับ
แนะนำ ปากกาหมึกซึม Jinhao x250
ปากกาหมึกซึม Jinhao X-250 มีลายเส้นขนาดเล็ก (Fine) ซึ่งเทียบเท่ากับขนาดเล็กพิเศษ (Extra Fine) ของปากกาทางยุโรป หัวปากกาเขียนลื่นมากๆ การปล่อยน้ำหมึกทำได้ต่อเนื่องดีมาก เป็นปากกาที่เขียนไปในทางเปียกค่อนข้างมากการเขียนเร็ว หรือลากเส้นต่อเนื่องทำได้ดี เส้นไม่ขาดหายเลย แถมยังเป็นปากกาที่มี Sweet Spot กว้างทีเดียว แต่ความที่มีหัวปากกาขนาดเล็ก
ตัวปากกา Jinhao X250 ทำจากโลหะทั้งด้ามสีเงิน ขลิบด้วยสีทอง โดยที่ตัวปากกาจะมีแถบสีทองขนาดใหญ่ 3 แถบที่ส่วนบน ส่วนกลาง และส่วนท้ายของปากกา คลิปเหน็บกระเป๋าก็เป็นสีทองขนาดใหญ่ ปากกาดูดีมาก ดูคุณภาพดี หรูหรา สวยมาก ๆ
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดขวด
1. ถอดฝาหลังปากกาออกหมุนใส้ที่อยู่ ในตัวปากกาหมุนทางด้านขวาจนสุด เพื่อเตรียมดูดหมึกซึม
2. จุ่มปากกาไปที่หมึกชนิดขวด หมุนซ้ายเพื่อดันหมึกเข้ามา ในแท่ง จากนั้นใช้งานได้เลย
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดแท่ง
1. นำใส้ที่อยู่ในตัว ปากกาออก
2. นำหมึกชนิดแท่งด้านใสดันเข้าตัว ปากกาให้เข็มเจาะตัวหมึกชนิดแท่ง รอหมึกสักพักจากนั้นใช้งานได้เลย
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ในบทความนี้ เราจะมาคุยกันเรื่องส่วนประกอบต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม ว่าในปากกาหมึกซึม 1 ด้ามเนี้ย มันมีส่วนประกอบอะไรบ้าง มันถูกเรียกว่าอะไร และการทำงานของมันเป็นยังไง
หลาย ๆ คน อาจจะใช้ปากกาหมึกซึมอยู่ แต่อาจไม่แน่ใจนักว่า ส่วนประกอบต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในนั้น ถูกเรียกและใช้งานอย่างไร วันนี้ทาง Buzkey เราจะมาอธิบายให้เพื่อน ๆ รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม อีกครั้ง
1. Nib หัวปากกา
Nib หรือหัวปากกานั้น เป็นหัวใจหลักของปากกาเลยก็ว่าได้ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเขียน ใช้งานต่าง ๆ ซึ่งหัวปากกานี่แหละ จะเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้ว่า ปากกาด้ามนั้นเขียนดีหรือไหม ขนาดของเส้น เขียนลื่น พริ้วไหวหรือเปล่า สามารถดูได้จากหัวปากกานี้เลย
โดยปลายปากกานั้นก็สามารถแบ่งเป็นแต่ละขนาด โดยทางเราได้ทำบทความแบบอธิบายละเอียดไว้แล้วใน รูปแบบปลายปากกาต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม เพื่อน ๆ สามารถลองกดเข้าไปดูรายละเอียดแบบเจาะลึกได้เลย เรามาดู ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ส่วนอื่น ๆ กันต่อเลย
2. Grip มือจับ
Grip มือจับ ที่มีไว้สำหรับให้นิ้วของเราจับปากกานั้นเอง ซึ่งมีหลากลายแบบ ให้เราได้เลือก เพื่อให้รับกับการจับของมือเรา โดยความชอบ ความถนัดของการจับปากกาก็แตกต่างกันออกไป
3. Cap ปลอกปากกา
Cap ปลอกปากกานั้น มีความสำคัญอยู่เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการป้องกันไม่ให้หัวปากกาของเราแห้งแล้วนั้น ยังป้องกันไม่ให้หัวปากกาโดนกระแทกทำให้เกิดความเสียหายอีกด้วย ปลอกปากกาจึงมีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก
4. Clip ที่เหน็บปากกา
Clip ที่เหน็บปากกา ส่วนประกอบเสริม มีไว้สำหรับเหน็บกับกระเป๋าเสื้อ เพิ่มความสะดวกสบายในการจับ และยังทำให้เราดูดีได้อีกด้วย
5. Barrel ด้ามปากกา
Barrel ด้ามปากกา เป็นส่วนด้านนอกที่มีไว้สำหรับครอบตัวหมึกด้านใน ที่ถูกออกแบบอย่างหลากหลาย สร้างจากวัสดุที่หลากหลาย และเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตัวปากกาได้อีกด้วย
6. Ink Converter ที่สูบหมึก
Ink Converter ที่สูบหมึกนั้น ก็เป็นส่วนสำคัญมาก ๆ อีกส่วนนึงเช่นกัน เพราะส่วนนี้จะใช้สำหรับส่งหมึกไปยังหัวปากกา โดยการสูบหมึกเข้าที่สูบหมึกนั้นเอง
โดยที่สูบหมึกนั้นมีหลากหลายแบบ โดยเรามีบทความสำหรับให้ข้อมูลเรื่องนี้โดยตรง สามารถเข้ามาอ่านได้ที่ วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่ โดยเราจะมีทั้งรายละเอียดของตัวหมึก และวิธีเติมหมึกมาให้อ่านกันด้วย
7. Ink Cartridge หมึกหลอด
Ink Cartridge หมึกหลอด จะมีความสะดวกสบายกว่าแบบที่สูบหมึก เพราะเป็นแบบที่ไม่ต้องเติมหมึกเข้าไป เพียงแค่เสียบหมึกหลอดเข้าไปที่ส่วนหัวของปากกา ก็สามารถใช้งานได้แล้ว โดยหมึกหลอดจะเป็นแบบที่ใช้แล้วทิ้ง มีความสะดวกสบาย ไม่เลอะเทอะ
แต่หากใครจะใช้หมึกชนิดหลอดนี้ ก็ควรจะศึกษาก่อนว่า ปากกาหมึกซึมที่คุณใช้นั้น สามารถใช้หมึกหลอดได้หรือไม่ เพราะปากกาหมึกซึมบางตัวก็ออกแบบมาให้ใช่เฉพาะตัวหมึกที่เขามีมาให้เท่านั้น
BLOG DEFAULT
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
หากเรามีปากกาสักด้ามที่เรารัก เป็นปากกาคู่ใจ เราคงอยากให้ปากกาด้ามนั้นอยู่กับเราไปนาน ๆ
วันนี้ทางร้าน Buzkey มีทริคเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการรักษาดูแลปากกาด้ามโปรดของคุณให้ปากกาสามารถใช้งานได้ยาวนานยิ่งขึ้น เพราะปากกาคือเครื่องมือสำคัญในการช่วยคุณทำงาน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างข้อความ สร้างผลงงานศิลปะ หรืองานอื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้นแล้ว ปากกาที่ดีควรจะมีเส้นที่คมชัด เขียนลื่น และตอบสนองความต้องการ เพื่อให้งานออกมาชัดเจน ตรงตามความเข้าใจของเรา เราจึงนำ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน มาให้คุณ คนที่รักปากกาได้อ่าน
1. ไม่ควรให้ปากากตก , กระแทกกับพื้น หรือขว้างปา
2. อย่าให้ปากกาโดนความร้อน
ห้าม!!! นำปากกาไปสัมผัสกับความร้อน ปากกากับความร้อนนั้นเป็นของที่ไม่ถูกกันเป็นอย่างมาก ความร้อนนั้นจะทำให้ปากกาของเราเสียหายหนัก เนื่องจากความร้อนจะทำให้ตัวไส้หมึกของปากกานั้นละลาย น้ำหมึกไม่จับตัวเรียงตัวกันอย่างที่ควรจะเป็น ซึ่งมันจำทำให้การลำเลียงน้ำหมึก ไม่สามารถควบคุมได้ และจะทำให้การเขียนไม่ราบลื่น
เมื่อเห็นความอันตรายของความร้อนที่่จะทำให้ปากกาด้ามโปรดของคุณเกิดความเสียหายแล้ว ดังนั้น ควรนำปากกาออกห่างจากความร้อน เก็บปากกาไว้ในกล่องปากกา และปิดฝาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
3. ปิดฝาปากกาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
ตัวเก็บปลายปากกา ที่ไม่ว่าจะเป็นแบบปลอก หรือแบบปุ่มกดขึ้นลง ออกแบบมาเพื่อป้องกันไม่ให้ปลายปากกาโดนกระแทก ซึ่งหากโดนกระแทกจะทำให้ปลายปากกาชำรุดได้ ดังนั้นหลังใช้งานเสร็จ จึงไม่ควรลืมปิดปลายปากกา และควรปิดให้สนิท
- เพราะฉนั้นแล้ว เวลาเลือกปากกา จึงควรคำนึกถึงปลอกปากกา หรือปุ่มปากกาด้วย ว่ามีความคงทนแข็งแรงดีหรือไหม ปิดสนิทหรือเปล่า…
4. ไม่ควรนำปากใส่กระเป๋ากางเกง
5. ใช้งานปากกาอย่างทะนุถนอม
สำหรับบทความ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน นี้ข้อมูลที่ทางเราคิดว่าหลาย ๆ คนอาจรู้แล้ว และอีกหลาย ๆ คนเช่นกัน ที่อาจจะยังไม่ทราบ เราจึงคิดว่าควรหยิบยกประเด็ดนี้ขึ้นมาบอกอีกครั้ง
อย่างไรแล้ว… ปากกามีบทบาทกับเราเป็นอย่างมาก อย่าละเลย และเห็นความสำคัญของปากกา ควรดูแลรักษาอย่างถูกวิธีเพื่อให้ปากกาด้ามนั้น อยู่กับเราไปอีกนาน
ขอบคุณครับ
แนะนำ ปากกาหมึกซึม Jinhao x250
ปากกาหมึกซึม Jinhao X-250 มีลายเส้นขนาดเล็ก (Fine) ซึ่งเทียบเท่ากับขนาดเล็กพิเศษ (Extra Fine) ของปากกาทางยุโรป หัวปากกาเขียนลื่นมากๆ การปล่อยน้ำหมึกทำได้ต่อเนื่องดีมาก เป็นปากกาที่เขียนไปในทางเปียกค่อนข้างมากการเขียนเร็ว หรือลากเส้นต่อเนื่องทำได้ดี เส้นไม่ขาดหายเลย แถมยังเป็นปากกาที่มี Sweet Spot กว้างทีเดียว แต่ความที่มีหัวปากกาขนาดเล็ก
ตัวปากกา Jinhao X250 ทำจากโลหะทั้งด้ามสีเงิน ขลิบด้วยสีทอง โดยที่ตัวปากกาจะมีแถบสีทองขนาดใหญ่ 3 แถบที่ส่วนบน ส่วนกลาง และส่วนท้ายของปากกา คลิปเหน็บกระเป๋าก็เป็นสีทองขนาดใหญ่ ปากกาดูดีมาก ดูคุณภาพดี หรูหรา สวยมาก ๆ
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดขวด
1. ถอดฝาหลังปากกาออกหมุนใส้ที่อยู่ ในตัวปากกาหมุนทางด้านขวาจนสุด เพื่อเตรียมดูดหมึกซึม
2. จุ่มปากกาไปที่หมึกชนิดขวด หมุนซ้ายเพื่อดันหมึกเข้ามา ในแท่ง จากนั้นใช้งานได้เลย
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดแท่ง
1. นำใส้ที่อยู่ในตัว ปากกาออก
2. นำหมึกชนิดแท่งด้านใสดันเข้าตัว ปากกาให้เข็มเจาะตัวหมึกชนิดแท่ง รอหมึกสักพักจากนั้นใช้งานได้เลย
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ในบทความนี้ เราจะมาคุยกันเรื่องส่วนประกอบต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม ว่าในปากกาหมึกซึม 1 ด้ามเนี้ย มันมีส่วนประกอบอะไรบ้าง มันถูกเรียกว่าอะไร และการทำงานของมันเป็นยังไง
หลาย ๆ คน อาจจะใช้ปากกาหมึกซึมอยู่ แต่อาจไม่แน่ใจนักว่า ส่วนประกอบต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในนั้น ถูกเรียกและใช้งานอย่างไร วันนี้ทาง Buzkey เราจะมาอธิบายให้เพื่อน ๆ รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม อีกครั้ง
1. Nib หัวปากกา
Nib หรือหัวปากกานั้น เป็นหัวใจหลักของปากกาเลยก็ว่าได้ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเขียน ใช้งานต่าง ๆ ซึ่งหัวปากกานี่แหละ จะเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้ว่า ปากกาด้ามนั้นเขียนดีหรือไหม ขนาดของเส้น เขียนลื่น พริ้วไหวหรือเปล่า สามารถดูได้จากหัวปากกานี้เลย
โดยปลายปากกานั้นก็สามารถแบ่งเป็นแต่ละขนาด โดยทางเราได้ทำบทความแบบอธิบายละเอียดไว้แล้วใน รูปแบบปลายปากกาต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม เพื่อน ๆ สามารถลองกดเข้าไปดูรายละเอียดแบบเจาะลึกได้เลย เรามาดู ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ส่วนอื่น ๆ กันต่อเลย
2. Grip มือจับ
Grip มือจับ ที่มีไว้สำหรับให้นิ้วของเราจับปากกานั้นเอง ซึ่งมีหลากลายแบบ ให้เราได้เลือก เพื่อให้รับกับการจับของมือเรา โดยความชอบ ความถนัดของการจับปากกาก็แตกต่างกันออกไป
3. Cap ปลอกปากกา
Cap ปลอกปากกานั้น มีความสำคัญอยู่เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการป้องกันไม่ให้หัวปากกาของเราแห้งแล้วนั้น ยังป้องกันไม่ให้หัวปากกาโดนกระแทกทำให้เกิดความเสียหายอีกด้วย ปลอกปากกาจึงมีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก
4. Clip ที่เหน็บปากกา
Clip ที่เหน็บปากกา ส่วนประกอบเสริม มีไว้สำหรับเหน็บกับกระเป๋าเสื้อ เพิ่มความสะดวกสบายในการจับ และยังทำให้เราดูดีได้อีกด้วย
5. Barrel ด้ามปากกา
Barrel ด้ามปากกา เป็นส่วนด้านนอกที่มีไว้สำหรับครอบตัวหมึกด้านใน ที่ถูกออกแบบอย่างหลากหลาย สร้างจากวัสดุที่หลากหลาย และเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตัวปากกาได้อีกด้วย
6. Ink Converter ที่สูบหมึก
Ink Converter ที่สูบหมึกนั้น ก็เป็นส่วนสำคัญมาก ๆ อีกส่วนนึงเช่นกัน เพราะส่วนนี้จะใช้สำหรับส่งหมึกไปยังหัวปากกา โดยการสูบหมึกเข้าที่สูบหมึกนั้นเอง
โดยที่สูบหมึกนั้นมีหลากหลายแบบ โดยเรามีบทความสำหรับให้ข้อมูลเรื่องนี้โดยตรง สามารถเข้ามาอ่านได้ที่ วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่ โดยเราจะมีทั้งรายละเอียดของตัวหมึก และวิธีเติมหมึกมาให้อ่านกันด้วย
7. Ink Cartridge หมึกหลอด
Ink Cartridge หมึกหลอด จะมีความสะดวกสบายกว่าแบบที่สูบหมึก เพราะเป็นแบบที่ไม่ต้องเติมหมึกเข้าไป เพียงแค่เสียบหมึกหลอดเข้าไปที่ส่วนหัวของปากกา ก็สามารถใช้งานได้แล้ว โดยหมึกหลอดจะเป็นแบบที่ใช้แล้วทิ้ง มีความสะดวกสบาย ไม่เลอะเทอะ
แต่หากใครจะใช้หมึกชนิดหลอดนี้ ก็ควรจะศึกษาก่อนว่า ปากกาหมึกซึมที่คุณใช้นั้น สามารถใช้หมึกหลอดได้หรือไม่ เพราะปากกาหมึกซึมบางตัวก็ออกแบบมาให้ใช่เฉพาะตัวหมึกที่เขามีมาให้เท่านั้น
BLOG WITH SMALL IMAGES
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
หากเรามีปากกาสักด้ามที่เรารัก เป็นปากกาคู่ใจ เราคงอยากให้ปากกาด้ามนั้นอยู่กับเราไปนาน ๆ
วันนี้ทางร้าน Buzkey มีทริคเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการรักษาดูแลปากกาด้ามโปรดของคุณให้ปากกาสามารถใช้งานได้ยาวนานยิ่งขึ้น เพราะปากกาคือเครื่องมือสำคัญในการช่วยคุณทำงาน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างข้อความ สร้างผลงงานศิลปะ หรืองานอื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้นแล้ว ปากกาที่ดีควรจะมีเส้นที่คมชัด เขียนลื่น และตอบสนองความต้องการ เพื่อให้งานออกมาชัดเจน ตรงตามความเข้าใจของเรา เราจึงนำ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน มาให้คุณ คนที่รักปากกาได้อ่าน
1. ไม่ควรให้ปากากตก , กระแทกกับพื้น หรือขว้างปา
2. อย่าให้ปากกาโดนความร้อน
ห้าม!!! นำปากกาไปสัมผัสกับความร้อน ปากกากับความร้อนนั้นเป็นของที่ไม่ถูกกันเป็นอย่างมาก ความร้อนนั้นจะทำให้ปากกาของเราเสียหายหนัก เนื่องจากความร้อนจะทำให้ตัวไส้หมึกของปากกานั้นละลาย น้ำหมึกไม่จับตัวเรียงตัวกันอย่างที่ควรจะเป็น ซึ่งมันจำทำให้การลำเลียงน้ำหมึก ไม่สามารถควบคุมได้ และจะทำให้การเขียนไม่ราบลื่น
เมื่อเห็นความอันตรายของความร้อนที่่จะทำให้ปากกาด้ามโปรดของคุณเกิดความเสียหายแล้ว ดังนั้น ควรนำปากกาออกห่างจากความร้อน เก็บปากกาไว้ในกล่องปากกา และปิดฝาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
3. ปิดฝาปากกาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
ตัวเก็บปลายปากกา ที่ไม่ว่าจะเป็นแบบปลอก หรือแบบปุ่มกดขึ้นลง ออกแบบมาเพื่อป้องกันไม่ให้ปลายปากกาโดนกระแทก ซึ่งหากโดนกระแทกจะทำให้ปลายปากกาชำรุดได้ ดังนั้นหลังใช้งานเสร็จ จึงไม่ควรลืมปิดปลายปากกา และควรปิดให้สนิท
- เพราะฉนั้นแล้ว เวลาเลือกปากกา จึงควรคำนึกถึงปลอกปากกา หรือปุ่มปากกาด้วย ว่ามีความคงทนแข็งแรงดีหรือไหม ปิดสนิทหรือเปล่า…
4. ไม่ควรนำปากใส่กระเป๋ากางเกง
5. ใช้งานปากกาอย่างทะนุถนอม
สำหรับบทความ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน นี้ข้อมูลที่ทางเราคิดว่าหลาย ๆ คนอาจรู้แล้ว และอีกหลาย ๆ คนเช่นกัน ที่อาจจะยังไม่ทราบ เราจึงคิดว่าควรหยิบยกประเด็ดนี้ขึ้นมาบอกอีกครั้ง
อย่างไรแล้ว… ปากกามีบทบาทกับเราเป็นอย่างมาก อย่าละเลย และเห็นความสำคัญของปากกา ควรดูแลรักษาอย่างถูกวิธีเพื่อให้ปากกาด้ามนั้น อยู่กับเราไปอีกนาน
ขอบคุณครับ
แนะนำ ปากกาหมึกซึม Jinhao x250
ปากกาหมึกซึม Jinhao X-250 มีลายเส้นขนาดเล็ก (Fine) ซึ่งเทียบเท่ากับขนาดเล็กพิเศษ (Extra Fine) ของปากกาทางยุโรป หัวปากกาเขียนลื่นมากๆ การปล่อยน้ำหมึกทำได้ต่อเนื่องดีมาก เป็นปากกาที่เขียนไปในทางเปียกค่อนข้างมากการเขียนเร็ว หรือลากเส้นต่อเนื่องทำได้ดี เส้นไม่ขาดหายเลย แถมยังเป็นปากกาที่มี Sweet Spot กว้างทีเดียว แต่ความที่มีหัวปากกาขนาดเล็ก
ตัวปากกา Jinhao X250 ทำจากโลหะทั้งด้ามสีเงิน ขลิบด้วยสีทอง โดยที่ตัวปากกาจะมีแถบสีทองขนาดใหญ่ 3 แถบที่ส่วนบน ส่วนกลาง และส่วนท้ายของปากกา คลิปเหน็บกระเป๋าก็เป็นสีทองขนาดใหญ่ ปากกาดูดีมาก ดูคุณภาพดี หรูหรา สวยมาก ๆ
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดขวด
1. ถอดฝาหลังปากกาออกหมุนใส้ที่อยู่ ในตัวปากกาหมุนทางด้านขวาจนสุด เพื่อเตรียมดูดหมึกซึม
2. จุ่มปากกาไปที่หมึกชนิดขวด หมุนซ้ายเพื่อดันหมึกเข้ามา ในแท่ง จากนั้นใช้งานได้เลย
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดแท่ง
1. นำใส้ที่อยู่ในตัว ปากกาออก
2. นำหมึกชนิดแท่งด้านใสดันเข้าตัว ปากกาให้เข็มเจาะตัวหมึกชนิดแท่ง รอหมึกสักพักจากนั้นใช้งานได้เลย
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ในบทความนี้ เราจะมาคุยกันเรื่องส่วนประกอบต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม ว่าในปากกาหมึกซึม 1 ด้ามเนี้ย มันมีส่วนประกอบอะไรบ้าง มันถูกเรียกว่าอะไร และการทำงานของมันเป็นยังไง
หลาย ๆ คน อาจจะใช้ปากกาหมึกซึมอยู่ แต่อาจไม่แน่ใจนักว่า ส่วนประกอบต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในนั้น ถูกเรียกและใช้งานอย่างไร วันนี้ทาง Buzkey เราจะมาอธิบายให้เพื่อน ๆ รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม อีกครั้ง
1. Nib หัวปากกา
Nib หรือหัวปากกานั้น เป็นหัวใจหลักของปากกาเลยก็ว่าได้ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเขียน ใช้งานต่าง ๆ ซึ่งหัวปากกานี่แหละ จะเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้ว่า ปากกาด้ามนั้นเขียนดีหรือไหม ขนาดของเส้น เขียนลื่น พริ้วไหวหรือเปล่า สามารถดูได้จากหัวปากกานี้เลย
โดยปลายปากกานั้นก็สามารถแบ่งเป็นแต่ละขนาด โดยทางเราได้ทำบทความแบบอธิบายละเอียดไว้แล้วใน รูปแบบปลายปากกาต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม เพื่อน ๆ สามารถลองกดเข้าไปดูรายละเอียดแบบเจาะลึกได้เลย เรามาดู ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ส่วนอื่น ๆ กันต่อเลย
2. Grip มือจับ
Grip มือจับ ที่มีไว้สำหรับให้นิ้วของเราจับปากกานั้นเอง ซึ่งมีหลากลายแบบ ให้เราได้เลือก เพื่อให้รับกับการจับของมือเรา โดยความชอบ ความถนัดของการจับปากกาก็แตกต่างกันออกไป
3. Cap ปลอกปากกา
Cap ปลอกปากกานั้น มีความสำคัญอยู่เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการป้องกันไม่ให้หัวปากกาของเราแห้งแล้วนั้น ยังป้องกันไม่ให้หัวปากกาโดนกระแทกทำให้เกิดความเสียหายอีกด้วย ปลอกปากกาจึงมีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก
4. Clip ที่เหน็บปากกา
Clip ที่เหน็บปากกา ส่วนประกอบเสริม มีไว้สำหรับเหน็บกับกระเป๋าเสื้อ เพิ่มความสะดวกสบายในการจับ และยังทำให้เราดูดีได้อีกด้วย
5. Barrel ด้ามปากกา
Barrel ด้ามปากกา เป็นส่วนด้านนอกที่มีไว้สำหรับครอบตัวหมึกด้านใน ที่ถูกออกแบบอย่างหลากหลาย สร้างจากวัสดุที่หลากหลาย และเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตัวปากกาได้อีกด้วย
6. Ink Converter ที่สูบหมึก
Ink Converter ที่สูบหมึกนั้น ก็เป็นส่วนสำคัญมาก ๆ อีกส่วนนึงเช่นกัน เพราะส่วนนี้จะใช้สำหรับส่งหมึกไปยังหัวปากกา โดยการสูบหมึกเข้าที่สูบหมึกนั้นเอง
โดยที่สูบหมึกนั้นมีหลากหลายแบบ โดยเรามีบทความสำหรับให้ข้อมูลเรื่องนี้โดยตรง สามารถเข้ามาอ่านได้ที่ วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่ โดยเราจะมีทั้งรายละเอียดของตัวหมึก และวิธีเติมหมึกมาให้อ่านกันด้วย
7. Ink Cartridge หมึกหลอด
Ink Cartridge หมึกหลอด จะมีความสะดวกสบายกว่าแบบที่สูบหมึก เพราะเป็นแบบที่ไม่ต้องเติมหมึกเข้าไป เพียงแค่เสียบหมึกหลอดเข้าไปที่ส่วนหัวของปากกา ก็สามารถใช้งานได้แล้ว โดยหมึกหลอดจะเป็นแบบที่ใช้แล้วทิ้ง มีความสะดวกสบาย ไม่เลอะเทอะ
แต่หากใครจะใช้หมึกชนิดหลอดนี้ ก็ควรจะศึกษาก่อนว่า ปากกาหมึกซึมที่คุณใช้นั้น สามารถใช้หมึกหลอดได้หรือไม่ เพราะปากกาหมึกซึมบางตัวก็ออกแบบมาให้ใช่เฉพาะตัวหมึกที่เขามีมาให้เท่านั้น
BLOG CHESS
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
หากเรามีปากกาสักด้ามที่เรารัก เป็นปากกาคู่ใจ เราคงอยากให้ปากกาด้ามนั้นอยู่กับเราไปนาน ๆ
วันนี้ทางร้าน Buzkey มีทริคเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการรักษาดูแลปากกาด้ามโปรดของคุณให้ปากกาสามารถใช้งานได้ยาวนานยิ่งขึ้น เพราะปากกาคือเครื่องมือสำคัญในการช่วยคุณทำงาน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างข้อความ สร้างผลงงานศิลปะ หรืองานอื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้นแล้ว ปากกาที่ดีควรจะมีเส้นที่คมชัด เขียนลื่น และตอบสนองความต้องการ เพื่อให้งานออกมาชัดเจน ตรงตามความเข้าใจของเรา เราจึงนำ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน มาให้คุณ คนที่รักปากกาได้อ่าน
1. ไม่ควรให้ปากากตก , กระแทกกับพื้น หรือขว้างปา
2. อย่าให้ปากกาโดนความร้อน
ห้าม!!! นำปากกาไปสัมผัสกับความร้อน ปากกากับความร้อนนั้นเป็นของที่ไม่ถูกกันเป็นอย่างมาก ความร้อนนั้นจะทำให้ปากกาของเราเสียหายหนัก เนื่องจากความร้อนจะทำให้ตัวไส้หมึกของปากกานั้นละลาย น้ำหมึกไม่จับตัวเรียงตัวกันอย่างที่ควรจะเป็น ซึ่งมันจำทำให้การลำเลียงน้ำหมึก ไม่สามารถควบคุมได้ และจะทำให้การเขียนไม่ราบลื่น
เมื่อเห็นความอันตรายของความร้อนที่่จะทำให้ปากกาด้ามโปรดของคุณเกิดความเสียหายแล้ว ดังนั้น ควรนำปากกาออกห่างจากความร้อน เก็บปากกาไว้ในกล่องปากกา และปิดฝาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
3. ปิดฝาปากกาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
ตัวเก็บปลายปากกา ที่ไม่ว่าจะเป็นแบบปลอก หรือแบบปุ่มกดขึ้นลง ออกแบบมาเพื่อป้องกันไม่ให้ปลายปากกาโดนกระแทก ซึ่งหากโดนกระแทกจะทำให้ปลายปากกาชำรุดได้ ดังนั้นหลังใช้งานเสร็จ จึงไม่ควรลืมปิดปลายปากกา และควรปิดให้สนิท
- เพราะฉนั้นแล้ว เวลาเลือกปากกา จึงควรคำนึกถึงปลอกปากกา หรือปุ่มปากกาด้วย ว่ามีความคงทนแข็งแรงดีหรือไหม ปิดสนิทหรือเปล่า…
4. ไม่ควรนำปากใส่กระเป๋ากางเกง
5. ใช้งานปากกาอย่างทะนุถนอม
สำหรับบทความ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน นี้ข้อมูลที่ทางเราคิดว่าหลาย ๆ คนอาจรู้แล้ว และอีกหลาย ๆ คนเช่นกัน ที่อาจจะยังไม่ทราบ เราจึงคิดว่าควรหยิบยกประเด็ดนี้ขึ้นมาบอกอีกครั้ง
อย่างไรแล้ว… ปากกามีบทบาทกับเราเป็นอย่างมาก อย่าละเลย และเห็นความสำคัญของปากกา ควรดูแลรักษาอย่างถูกวิธีเพื่อให้ปากกาด้ามนั้น อยู่กับเราไปอีกนาน
ขอบคุณครับ
แนะนำ ปากกาหมึกซึม Jinhao x250
ปากกาหมึกซึม Jinhao X-250 มีลายเส้นขนาดเล็ก (Fine) ซึ่งเทียบเท่ากับขนาดเล็กพิเศษ (Extra Fine) ของปากกาทางยุโรป หัวปากกาเขียนลื่นมากๆ การปล่อยน้ำหมึกทำได้ต่อเนื่องดีมาก เป็นปากกาที่เขียนไปในทางเปียกค่อนข้างมากการเขียนเร็ว หรือลากเส้นต่อเนื่องทำได้ดี เส้นไม่ขาดหายเลย แถมยังเป็นปากกาที่มี Sweet Spot กว้างทีเดียว แต่ความที่มีหัวปากกาขนาดเล็ก
ตัวปากกา Jinhao X250 ทำจากโลหะทั้งด้ามสีเงิน ขลิบด้วยสีทอง โดยที่ตัวปากกาจะมีแถบสีทองขนาดใหญ่ 3 แถบที่ส่วนบน ส่วนกลาง และส่วนท้ายของปากกา คลิปเหน็บกระเป๋าก็เป็นสีทองขนาดใหญ่ ปากกาดูดีมาก ดูคุณภาพดี หรูหรา สวยมาก ๆ
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดขวด
1. ถอดฝาหลังปากกาออกหมุนใส้ที่อยู่ ในตัวปากกาหมุนทางด้านขวาจนสุด เพื่อเตรียมดูดหมึกซึม
2. จุ่มปากกาไปที่หมึกชนิดขวด หมุนซ้ายเพื่อดันหมึกเข้ามา ในแท่ง จากนั้นใช้งานได้เลย
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดแท่ง
1. นำใส้ที่อยู่ในตัว ปากกาออก
2. นำหมึกชนิดแท่งด้านใสดันเข้าตัว ปากกาให้เข็มเจาะตัวหมึกชนิดแท่ง รอหมึกสักพักจากนั้นใช้งานได้เลย
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ในบทความนี้ เราจะมาคุยกันเรื่องส่วนประกอบต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม ว่าในปากกาหมึกซึม 1 ด้ามเนี้ย มันมีส่วนประกอบอะไรบ้าง มันถูกเรียกว่าอะไร และการทำงานของมันเป็นยังไง
หลาย ๆ คน อาจจะใช้ปากกาหมึกซึมอยู่ แต่อาจไม่แน่ใจนักว่า ส่วนประกอบต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในนั้น ถูกเรียกและใช้งานอย่างไร วันนี้ทาง Buzkey เราจะมาอธิบายให้เพื่อน ๆ รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม อีกครั้ง
1. Nib หัวปากกา
Nib หรือหัวปากกานั้น เป็นหัวใจหลักของปากกาเลยก็ว่าได้ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเขียน ใช้งานต่าง ๆ ซึ่งหัวปากกานี่แหละ จะเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้ว่า ปากกาด้ามนั้นเขียนดีหรือไหม ขนาดของเส้น เขียนลื่น พริ้วไหวหรือเปล่า สามารถดูได้จากหัวปากกานี้เลย
โดยปลายปากกานั้นก็สามารถแบ่งเป็นแต่ละขนาด โดยทางเราได้ทำบทความแบบอธิบายละเอียดไว้แล้วใน รูปแบบปลายปากกาต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม เพื่อน ๆ สามารถลองกดเข้าไปดูรายละเอียดแบบเจาะลึกได้เลย เรามาดู ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ส่วนอื่น ๆ กันต่อเลย
2. Grip มือจับ
Grip มือจับ ที่มีไว้สำหรับให้นิ้วของเราจับปากกานั้นเอง ซึ่งมีหลากลายแบบ ให้เราได้เลือก เพื่อให้รับกับการจับของมือเรา โดยความชอบ ความถนัดของการจับปากกาก็แตกต่างกันออกไป
3. Cap ปลอกปากกา
Cap ปลอกปากกานั้น มีความสำคัญอยู่เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการป้องกันไม่ให้หัวปากกาของเราแห้งแล้วนั้น ยังป้องกันไม่ให้หัวปากกาโดนกระแทกทำให้เกิดความเสียหายอีกด้วย ปลอกปากกาจึงมีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก
4. Clip ที่เหน็บปากกา
Clip ที่เหน็บปากกา ส่วนประกอบเสริม มีไว้สำหรับเหน็บกับกระเป๋าเสื้อ เพิ่มความสะดวกสบายในการจับ และยังทำให้เราดูดีได้อีกด้วย
5. Barrel ด้ามปากกา
Barrel ด้ามปากกา เป็นส่วนด้านนอกที่มีไว้สำหรับครอบตัวหมึกด้านใน ที่ถูกออกแบบอย่างหลากหลาย สร้างจากวัสดุที่หลากหลาย และเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตัวปากกาได้อีกด้วย
6. Ink Converter ที่สูบหมึก
Ink Converter ที่สูบหมึกนั้น ก็เป็นส่วนสำคัญมาก ๆ อีกส่วนนึงเช่นกัน เพราะส่วนนี้จะใช้สำหรับส่งหมึกไปยังหัวปากกา โดยการสูบหมึกเข้าที่สูบหมึกนั้นเอง
โดยที่สูบหมึกนั้นมีหลากหลายแบบ โดยเรามีบทความสำหรับให้ข้อมูลเรื่องนี้โดยตรง สามารถเข้ามาอ่านได้ที่ วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่ โดยเราจะมีทั้งรายละเอียดของตัวหมึก และวิธีเติมหมึกมาให้อ่านกันด้วย
7. Ink Cartridge หมึกหลอด
Ink Cartridge หมึกหลอด จะมีความสะดวกสบายกว่าแบบที่สูบหมึก เพราะเป็นแบบที่ไม่ต้องเติมหมึกเข้าไป เพียงแค่เสียบหมึกหลอดเข้าไปที่ส่วนหัวของปากกา ก็สามารถใช้งานได้แล้ว โดยหมึกหลอดจะเป็นแบบที่ใช้แล้วทิ้ง มีความสะดวกสบาย ไม่เลอะเทอะ
แต่หากใครจะใช้หมึกชนิดหลอดนี้ ก็ควรจะศึกษาก่อนว่า ปากกาหมึกซึมที่คุณใช้นั้น สามารถใช้หมึกหลอดได้หรือไม่ เพราะปากกาหมึกซึมบางตัวก็ออกแบบมาให้ใช่เฉพาะตัวหมึกที่เขามีมาให้เท่านั้น
BLOG ALTERNATIVE
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน
หากเรามีปากกาสักด้ามที่เรารัก เป็นปากกาคู่ใจ เราคงอยากให้ปากกาด้ามนั้นอยู่กับเราไปนาน ๆ
วันนี้ทางร้าน Buzkey มีทริคเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการรักษาดูแลปากกาด้ามโปรดของคุณให้ปากกาสามารถใช้งานได้ยาวนานยิ่งขึ้น เพราะปากกาคือเครื่องมือสำคัญในการช่วยคุณทำงาน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างข้อความ สร้างผลงงานศิลปะ หรืองานอื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้นแล้ว ปากกาที่ดีควรจะมีเส้นที่คมชัด เขียนลื่น และตอบสนองความต้องการ เพื่อให้งานออกมาชัดเจน ตรงตามความเข้าใจของเรา เราจึงนำ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน มาให้คุณ คนที่รักปากกาได้อ่าน
1. ไม่ควรให้ปากากตก , กระแทกกับพื้น หรือขว้างปา
2. อย่าให้ปากกาโดนความร้อน
ห้าม!!! นำปากกาไปสัมผัสกับความร้อน ปากกากับความร้อนนั้นเป็นของที่ไม่ถูกกันเป็นอย่างมาก ความร้อนนั้นจะทำให้ปากกาของเราเสียหายหนัก เนื่องจากความร้อนจะทำให้ตัวไส้หมึกของปากกานั้นละลาย น้ำหมึกไม่จับตัวเรียงตัวกันอย่างที่ควรจะเป็น ซึ่งมันจำทำให้การลำเลียงน้ำหมึก ไม่สามารถควบคุมได้ และจะทำให้การเขียนไม่ราบลื่น
เมื่อเห็นความอันตรายของความร้อนที่่จะทำให้ปากกาด้ามโปรดของคุณเกิดความเสียหายแล้ว ดังนั้น ควรนำปากกาออกห่างจากความร้อน เก็บปากกาไว้ในกล่องปากกา และปิดฝาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
3. ปิดฝาปากกาทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ
ตัวเก็บปลายปากกา ที่ไม่ว่าจะเป็นแบบปลอก หรือแบบปุ่มกดขึ้นลง ออกแบบมาเพื่อป้องกันไม่ให้ปลายปากกาโดนกระแทก ซึ่งหากโดนกระแทกจะทำให้ปลายปากกาชำรุดได้ ดังนั้นหลังใช้งานเสร็จ จึงไม่ควรลืมปิดปลายปากกา และควรปิดให้สนิท
- เพราะฉนั้นแล้ว เวลาเลือกปากกา จึงควรคำนึกถึงปลอกปากกา หรือปุ่มปากกาด้วย ว่ามีความคงทนแข็งแรงดีหรือไหม ปิดสนิทหรือเปล่า…
4. ไม่ควรนำปากใส่กระเป๋ากางเกง
5. ใช้งานปากกาอย่างทะนุถนอม
สำหรับบทความ วิธีดูแลรักษาปากกา ให้สามารถใช้งานได้ยาวนาน นี้ข้อมูลที่ทางเราคิดว่าหลาย ๆ คนอาจรู้แล้ว และอีกหลาย ๆ คนเช่นกัน ที่อาจจะยังไม่ทราบ เราจึงคิดว่าควรหยิบยกประเด็ดนี้ขึ้นมาบอกอีกครั้ง
อย่างไรแล้ว… ปากกามีบทบาทกับเราเป็นอย่างมาก อย่าละเลย และเห็นความสำคัญของปากกา ควรดูแลรักษาอย่างถูกวิธีเพื่อให้ปากกาด้ามนั้น อยู่กับเราไปอีกนาน
ขอบคุณครับ
แนะนำ ปากกาหมึกซึม Jinhao x250
ปากกาหมึกซึม Jinhao X-250 มีลายเส้นขนาดเล็ก (Fine) ซึ่งเทียบเท่ากับขนาดเล็กพิเศษ (Extra Fine) ของปากกาทางยุโรป หัวปากกาเขียนลื่นมากๆ การปล่อยน้ำหมึกทำได้ต่อเนื่องดีมาก เป็นปากกาที่เขียนไปในทางเปียกค่อนข้างมากการเขียนเร็ว หรือลากเส้นต่อเนื่องทำได้ดี เส้นไม่ขาดหายเลย แถมยังเป็นปากกาที่มี Sweet Spot กว้างทีเดียว แต่ความที่มีหัวปากกาขนาดเล็ก
ตัวปากกา Jinhao X250 ทำจากโลหะทั้งด้ามสีเงิน ขลิบด้วยสีทอง โดยที่ตัวปากกาจะมีแถบสีทองขนาดใหญ่ 3 แถบที่ส่วนบน ส่วนกลาง และส่วนท้ายของปากกา คลิปเหน็บกระเป๋าก็เป็นสีทองขนาดใหญ่ ปากกาดูดีมาก ดูคุณภาพดี หรูหรา สวยมาก ๆ
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดขวด
1. ถอดฝาหลังปากกาออกหมุนใส้ที่อยู่ ในตัวปากกาหมุนทางด้านขวาจนสุด เพื่อเตรียมดูดหมึกซึม
2. จุ่มปากกาไปที่หมึกชนิดขวด หมุนซ้ายเพื่อดันหมึกเข้ามา ในแท่ง จากนั้นใช้งานได้เลย
การเติมหมึกด้วยหมึกชนิดแท่ง
1. นำใส้ที่อยู่ในตัว ปากกาออก
2. นำหมึกชนิดแท่งด้านใสดันเข้าตัว ปากกาให้เข็มเจาะตัวหมึกชนิดแท่ง รอหมึกสักพักจากนั้นใช้งานได้เลย
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม
ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ในบทความนี้ เราจะมาคุยกันเรื่องส่วนประกอบต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม ว่าในปากกาหมึกซึม 1 ด้ามเนี้ย มันมีส่วนประกอบอะไรบ้าง มันถูกเรียกว่าอะไร และการทำงานของมันเป็นยังไง
หลาย ๆ คน อาจจะใช้ปากกาหมึกซึมอยู่ แต่อาจไม่แน่ใจนักว่า ส่วนประกอบต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในนั้น ถูกเรียกและใช้งานอย่างไร วันนี้ทาง Buzkey เราจะมาอธิบายให้เพื่อน ๆ รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม อีกครั้ง
1. Nib หัวปากกา
Nib หรือหัวปากกานั้น เป็นหัวใจหลักของปากกาเลยก็ว่าได้ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเขียน ใช้งานต่าง ๆ ซึ่งหัวปากกานี่แหละ จะเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้ว่า ปากกาด้ามนั้นเขียนดีหรือไหม ขนาดของเส้น เขียนลื่น พริ้วไหวหรือเปล่า สามารถดูได้จากหัวปากกานี้เลย
โดยปลายปากกานั้นก็สามารถแบ่งเป็นแต่ละขนาด โดยทางเราได้ทำบทความแบบอธิบายละเอียดไว้แล้วใน รูปแบบปลายปากกาต่าง ๆ ของปากกาหมึกซึม เพื่อน ๆ สามารถลองกดเข้าไปดูรายละเอียดแบบเจาะลึกได้เลย เรามาดู ส่วนประกอบต่างๆ ของปากกาหมึกซึม ส่วนอื่น ๆ กันต่อเลย
2. Grip มือจับ
Grip มือจับ ที่มีไว้สำหรับให้นิ้วของเราจับปากกานั้นเอง ซึ่งมีหลากลายแบบ ให้เราได้เลือก เพื่อให้รับกับการจับของมือเรา โดยความชอบ ความถนัดของการจับปากกาก็แตกต่างกันออกไป
3. Cap ปลอกปากกา
Cap ปลอกปากกานั้น มีความสำคัญอยู่เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการป้องกันไม่ให้หัวปากกาของเราแห้งแล้วนั้น ยังป้องกันไม่ให้หัวปากกาโดนกระแทกทำให้เกิดความเสียหายอีกด้วย ปลอกปากกาจึงมีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก
4. Clip ที่เหน็บปากกา
Clip ที่เหน็บปากกา ส่วนประกอบเสริม มีไว้สำหรับเหน็บกับกระเป๋าเสื้อ เพิ่มความสะดวกสบายในการจับ และยังทำให้เราดูดีได้อีกด้วย
5. Barrel ด้ามปากกา
Barrel ด้ามปากกา เป็นส่วนด้านนอกที่มีไว้สำหรับครอบตัวหมึกด้านใน ที่ถูกออกแบบอย่างหลากหลาย สร้างจากวัสดุที่หลากหลาย และเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตัวปากกาได้อีกด้วย
6. Ink Converter ที่สูบหมึก
Ink Converter ที่สูบหมึกนั้น ก็เป็นส่วนสำคัญมาก ๆ อีกส่วนนึงเช่นกัน เพราะส่วนนี้จะใช้สำหรับส่งหมึกไปยังหัวปากกา โดยการสูบหมึกเข้าที่สูบหมึกนั้นเอง
โดยที่สูบหมึกนั้นมีหลากหลายแบบ โดยเรามีบทความสำหรับให้ข้อมูลเรื่องนี้โดยตรง สามารถเข้ามาอ่านได้ที่ วิธีเติมน้ำหมึกปากกาหมึกซึม สำหรับมือใหม่ โดยเราจะมีทั้งรายละเอียดของตัวหมึก และวิธีเติมหมึกมาให้อ่านกันด้วย
7. Ink Cartridge หมึกหลอด
Ink Cartridge หมึกหลอด จะมีความสะดวกสบายกว่าแบบที่สูบหมึก เพราะเป็นแบบที่ไม่ต้องเติมหมึกเข้าไป เพียงแค่เสียบหมึกหลอดเข้าไปที่ส่วนหัวของปากกา ก็สามารถใช้งานได้แล้ว โดยหมึกหลอดจะเป็นแบบที่ใช้แล้วทิ้ง มีความสะดวกสบาย ไม่เลอะเทอะ
แต่หากใครจะใช้หมึกชนิดหลอดนี้ ก็ควรจะศึกษาก่อนว่า ปากกาหมึกซึมที่คุณใช้นั้น สามารถใช้หมึกหลอดได้หรือไม่ เพราะปากกาหมึกซึมบางตัวก็ออกแบบมาให้ใช่เฉพาะตัวหมึกที่เขามีมาให้เท่านั้น